วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7



วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน / เดือน / ปี  2  ตุลาคม  2557

ความรู้ที่ได้รับ The knowledge gained

      อาจารย์ให้ทำสิ่งประดิษฐ์จากแกนกระดาษทิชชู

อุปกรณ์  Equipment

1.แกนกระดาษทิชชู่ Tissue Paper
2.เชือก  rope
3.กระดาษ   paper
4.กรรไกร   Scissors
5.ที่เจาะกระดาษ

วิธีทำ

1.ตัดครึ่งแกนกระดาษทิชชู
2.ตัดเชือกยาวประมาณ 1 เมตร
3.นำแกนกระดาษทิชชูมาวาดวกลมลงกระดาษ
4.ใช้ที่เจาะกระดาษเจาะที่แกนกระดาษทิชชูให้ทั้งหมด 4 รู
5.นำกระดาษที่วาดเป็นวงกลมข้างต้นตัดแล้ววาดรูปตามจินตนาการพร้อมติดลงบนแกนกระดาษทิชชู่
6.นำเชือกที่ตัดไว้ข้างต้นมาร้อยตามรูที่เจาะไว้พร้อมมัดปรมเชือก

ผลงาน






ความรู้ที่เด็กได้รับ คือ

การทำเชือกเป็นองศามากขึ้นเด็กจะไดรับความรู้  การปฏิบัติของเด็กต้องสอดคล้องกับความรู้มาอธิบายให้เด็กฟังการที่เราจัดกิจกรรมให้กับเด็กจนเด็กค้นพบคำตอบได้มันอยู่บนพื้นฐานความคิดจากทฤษฎี คอนตักซึ่ม  จาก บรูนเนอร์  เพียร์เจย์  ดูอี้ คือ การเรียนรู้จากการกระทำ

-          การนำเสนอบทความ

บทความที่ 1 สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทย์เป็ดและไก่

        เริ่มจากการเล่านิทาน  เรื่อง หนุไก่คนเก่งสอนให้เด็กรู้วิธีช่วยเหลือตนเอง

ขั้นตอน

1.ร้องเพลง  ฟังนิทาน  สนทนาตั้งคำถาม
2.ตั้งคำถาม
3.นำเสนอผลงาน

       กิจกรรมนี้เด็กได้แสดงความรู้สึกด้วยคำพูด การเปรียบเทียบลักษณะของเป็ดและไก่ในบทความนี้จัดการเรียนการสอนแบบ  สืบเสาะ  โดยการนำด้วยนิทาน

บทความที่ 2 จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ

        กระตุ้นให้ครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนด้วยกิจกรรมง่ายๆ

บทความที่ 3 ส่งเสริมกระบวนการคิดสำหรับเด็ก

       เด็กในวัยนี้มักอยากรู้อยากเห็นนี้คือกระบวนการเรียนรู้อย่าหนึ่ง

บทความที่ 4 สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ

       สอนให้เด็กรู้จักอนุรักษ์ธรรมชาติ

บทความที่ 5การสอนลูกเรื่องอากาศ

        คือ การจัดกิจรรมเรื่องก๊าซต่างๆและไอน้ำ ก๊าซที่จำเป็น คือ ก๊าสออกซิเจน อากาศมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมกิจกรรมที่จัดให้เด็ก คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะให้เด็กเคลื่อนไหวตามอากาศ การเรียนรู้วิทย์ คือ เด็กเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว



การประเมินหลังเรียน


ตนเอง     =       วันนี้เข้าเรียนตรงตอเวลา แต่งกายถูกระเบียบตั้งใจฟังอาจาย์บรรยายมีการทำสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจากแกนกระดาษทิชชู่ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับเด็กปฐมวัยในอนาคตได้


เพื่อน       =     ตั้งใจเรียนฟังที่อาจารย์บรรยายให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม วันนี้เพื่อนนั่งตามเลขที่จึงตั้งใจเรียนเพราะไม่ได้นั่งรวมกับกลุ่มตัวเอง


อาจารย์    =    บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง ร่วมกันอภิปรายกับนักศึกษาทำให้การสอนของอาจารย์เข้าใจง่ายมากขึ้นและแนะนำการเขียนแผนทุกกลุ่มให้กลับไปแก้ไข 





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น