บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน / เดือน / ปี 25 กันยายน 255
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาประดิษฐ์ ลูกยางกระดาษ
อุปกรณ์(equipment)
1.กระดาษ
2.กรรไกร
3.คลิปติดกระดาษ
วิธีทำ
1.ตัดกระดาษให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
2.พับครึ่งกระดาษ
3.ตัดแนวยาวขึ้นมาครึ่งหนึ่งของกระดาษ
4.พับปลายสวนที่ไม่ได้ตัด
5.นำคลิปติดกระดาษมาติดปลายส่วนที่พับไว้
ผลงาน
ในการประดิษฐ์นี้เลียนแบบมาจาก ลูกยางนา
บทความ (article)
บทความที่ 1 แสงสีกับชีวิตประจำวัน
ในบทความนี้เพื่อนพูดถึงสีสามสีที่มารวมกันแล้วได้เป็นสีขาว คือการรวมสีของสีแดง สีน้ำเงิน สีเขียว
การมองเห็นสีต่าง ๆ บนวัตถุเกิดจากการผสมของแสงสี เช่น แสงขาวอาจเกิดจากแสงเพียง 3 สีรวมกัน แสงทั้ง 3 สี ได้แก่ แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน้ำเงิน หรือเรียกว่า สีปฐมภูมิ และถ้านำแสงที่เกิดจากการผสมกันของสีปฐมภูมิ 2 สีมารวมกันจะเกิดเป็น สีทุติยภูมิ ซึ่งสีทุตยภูมิแต่ละสีจะมีความแตกต่างกันในระดับความเข้มสีและความสว่างของแสง ดังภาพ
บทความที่ 2 เงามหัสจรรย์
เงาคืออะไร เงาคือแสงเดินทางเป็นเส้นตรงเลี้ยงหรือเดินอ้อมไม่ได้ดังนั้นเมื่อแสงส่องมากระทบวัตถุที่ทึบแสง เช่น ตัวเรา แสงก็ไม่สามารถทะลุผ่านไปได้ จนเกิดเป็นเงาดำๆ คนละด้านกับแสงและมีรูปร่างคล้ายวัตถุนั้น นั่นก็คือเงา ซึ่งไม่เพียงแค่คนเท่านั้นที่มี แต่อะไรก็ได้ที่เป็นวัตถุทึบแสง เมื่อถูกแสงส่องลงมา ก็เป็นเงาได้เช่นกัน
บทความที่ 3 สอนลูกเรื่องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมรรย์ต่อสมอง
จัดกิจกรรมปลูกฝังให้เด็กรักสิ่งแวดล้อม
บทความที่ 4 วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย
คือให้เด็กสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง และลงมือกระทำการเรียนรู้ด้วยตนเอง
บทความที่ 5 การทดลองวิทยาศาสตร์
ตอบสนองธรรมชาติของเด็กจากการเล่นทักษะทางวิทยาศาสตร์
อากาศ
อากาศ คือ ส่วน ผสม ของ ก๊าซ ต่าง ๆ และ ไอ น้ำ ซึ่ง ส่วน ใหญ่ ได้ แก่ ก๊าซ ไนโตรเจน และ ก๊าซ ออกซิเจน นอก นั้น เป็น ก๊าซ อื่น ๆ ซึ่ง มี อยู่ เป็น จำนวน น้อย อากาศ มี อยู่ รอบ ๆ ตัว เรา ทุก หน ทุก แห่ง ทั้ง บน ยอด สูง สุด ของ ภู เขา และ ใน ที่ จอด รถ ใต้ ดิน อากาศ มี อยู่ ใน บ้าน มี อยู่ ใน โรง เรียน และ ใน รถ ยนต์ อากาศ ไม่ มี สี ไม่ มี รส ชาติ และ ไม่ มี กลิ่น
บรรยากาศ คือ อะไร
บรรยากาศ คือ ชั้น ของ อากาศ ที่ ล้อม รอบ โลก และ ด้วย แรง ดึง ดูด ของ โลก ทำ ให้ บรรยากาศ คง สภาพ อยู่ ได้ บรรยากาศ มี ความ หนา 310 ไมล์ และ มี ถึง 4 ชั้น นัก วิทยา ศาสตร์ แบ่ง บรรยากาศ ออก เป็น 4 ชั้น ตาม อุณหภูมิ ชั้น แรก มี ชื่อ เรียก ว่า โทร โพสเฟียร์ (Troposhere) ชั้น สูง ถัด จาก โทร โพสเฟียร์ คือ ชั้นสตรา โตสเฟียร์ (Stratoshere) เมโสสเฟียร์ (Mesosphere) และ ชั้น บน สุด คือ เทอร์โมสเฟียร์ (Thermoshere) อากาศ ใน บรรยากาศ แต่ ละ ชั้น จะ แตก ต่าง กัน แต่ ใน ทุก ๆ ชั้น ล้วน เป็น ส่วน สำคัญ ของ สิ่ง แวด ล้อม ของ โลก
บรรยากาศ ชั้น โทร โพสเฟียร์
เป็น ชั้น บรรยากาศ ที่ อยู่ ใกล้ โลก มาก ที่ สุด มี ความ หนา ประมาณ 12 กิโลเมตร เมฆ พายุ ลม และ ลักษณะ อากาศ ต่าง ๆ เกิด ขึ้น ใน บรรยากาศ ชั้น นี้ อุณหภูมิ ของ บรรยากาศ ชั้น นี้ จะ เปลี่ยน แปลง บ่อย ครั้ง และ รวด เร็ว กว่า บรรยากาศ ชั้น อื่น ๆ
บรรยากาศ ชั้นสตรา โตสเฟียร์
บรรยากาศ ชั้นสตรา โตสเฟียร์ อยู่ เหนือ ขึ้น ไป จาก บรรยากาศ ชั้น โทร โพสเฟียร์ มี ความ สูง ของ ชั้น บรรยากาศ ประมาณ 50 กิโลเมตร บรรยากาศ ชั้น นี้ มี ก๊าซ โอโซน เป็น ส่วน ประกอบ อยู่ ด้วย และ ก๊าซ โอโซน นี้ เอง ที่ ทำ หน้า ที่ ดูด ซับ รังสี อุลตรา ไว โอ เลต จาก ดวง อาทิตย์ ซึ่ง เป็น รังสี อันตราย ต่อ ผิว หนัง ของ มนุษย์ และ พืช ไม่ ให้ ส่อง ลง มาก ระ ทบ ถึง พื้น โลก
บรรยากาศ ชั้นเมโสสเฟียร์
เมโสสเฟียร์อยู่ เหนือ บรรยากาศ ชั้นสตรา โตสเฟียร ์ และ อยู่ สูง ขึ้น ไป ไม่ เกิน 85 กิโลเมตร บรรยากาศ ชั้นเมโสสเฟียร์เป็น ชั้น ที่ มี อุณหภูมิ ต่ำ สุด สะเก็ด ดาว เป็น ทางยาว จะ ปรากฎ ให้ เห็น ใน ระดับ บน ๆ ของ บรรยากาศ ชั้นเมโสสเฟียร์นี้
บรรยากาศ ชั้น เทอร์โมสเฟียร์
ชั้น บรรยากาศ เทอร์โมสเฟียร์เริ่ม ใน ระดับ 85 กิโลเมตร เหนือ พื้น โลก และ สูง ขึ้น ไป ๆ จน จาง หาย ไป ใน อากาศ อากาศ กว่า 99% ของ เรา อยู่ ใต้ บรรยากาศ ชั้น เทอร์โมสเฟียร์ อากาศ ใน ชั้น นี้ บาง มาก และ เพราะ อากาศ บาง นี้ เอง ที่ ทำ ให้ ได้ รับ ผล กระ ทบ จาก แสง อาทิตย์ แรง มาก จน มี ผล ทำ ให้ อุณหภูมิ ของ บรรยากาศ ชั้น นี้ สูง มาก
เครื่องบิน ที่ บิน อยู่ ใน บรรยากาศ จะ บิน อยู่ ใน บรรยากาศ ชั้นสตรา โตสเฟียร์ เพื่อ จะ ได้ อยู่ เหนือ หิมะ พายุ ฝน และ ลม แรง
อากาศ เป็น ตัว นำ คลื่น เสียง ถ้า ไม่ มี อากาศ เรา จะ ไม่ ได้ ยิน เสียง ดนตรี เสียง สุนัข เห่า หรือ เสียง คน พูด คุย กัน อากาศ ยัง ใช้ เคลื่อน ย้าย สิ่ง ต่าง ๆ อากาศ ทำ ให้ เรือ ใบ แล่น ข้าม ทะเล สาบ ทำ ให้ ใบ กังหัน ของ กังหัน ลม ใน ท้อง นา หมุน เรา ใช้ อากาศ ใน การ เล่น ว่าว เป่า ลูก โป่ง และ สูบ ลม ลูก บอล เรา ทุก คน ต่าง ใช้ อากาศ ทำ กิจ กรรม ต่าง ๆ มาก มาย ใน แต่ ละ วัน
มนุษย์ หาย ใจ เอา อากาศ เข้า ไป เพื่อ มี ชีวิต อยู่ รอด เรา ทุก คน สามารถ มี ชีวิต รอด อยู่ ได้ เพียง 2-3 นาที เท่า นั้น หาก ขาด อากาศ หาย ใจ อากาศ ช่วย ค้ำ จุน ชีวิต ของ พืช และ สัตว์ ที่ อาศัย อยู่ ใน โลก อากาศ ใน ชั้น บรรยากาศ ยัง ช่วย ปก ป้อง พืช บน โลก จาก รังสี ที่ เป็น อันตราย ของ ดวง อาทิตย์ และจ ากความ ร้อน ที่ รุน แรง
ก๊าซ แต่ ละ ชนิด ใน อากาศ ล้วน มี ความ สำคัญ ทั้ง สิ้น โดย แต่ ละ ชนิด จะ ช่วย ปก ป้อง สิ่ง มี ชีวิต ก๊าซ ทุก ชนิด ใน อากาศ จำ ต้อง มี ความ สมดุล ตัว อย่าง เช่น หาก ระดับ ของ ออกซิเจน ใน อากาศ ลด ลง ใน ทัน ที เรา จะ หาย ใจ ด้วย ความ ยาก ลำบาก หาก ก๊าซ ต่าง ๆ ใน อากาศ ขาด ความ สมดุล รังสี ที่ เต็ม ไป ด้วย ความ อันตราย จาก ดวง อาทิตย์ สามารถ เข้า สู่ บรรยากาศ ของ เรา ได้อากาศ ภาย ใน บ้าน
ท่าน ทราบ หรือ ไม่ ว่า อากาศ ภาย ใน บ้าน บาง แห่งปรากฎ ว่า มี ระดับ มล พิษ ทางอากาศ สูง กว่า อากาศ ภาย นอก ซึ่ง บาง ครั้ง มี ระดับ มล พิษ สูง เป็น 10 เท่า ของ มล พิษ ข้าง นอก แม้ แต่ อากาศ ที่ ท่าน หาย ใจ เข้า ไป ก็ มี มล พิษ แต่ ไม่ เพียง พอ ที่ จะ ทำ ให้ ท่าน รำคาญ หรือ เจ็บ ป่วย อาคาร ทุก แห่งที่ ไม่ ได้ มี การ ระบาย ลม ที่ ดี ซึ่ง หมาย ความ ว่า อากาศ ไม่ สามารถ เคลื่อน ตัว ได้ โดย รอบ ใน อาคาร สำนัก งาน ใหม่ ๆ ไม่ มี การ เปิด หน้า ต่าง เพื่อ ให้ อากาศ บริสุทธิ์ พัด ผ่าน เข้า มา นอก จาก นี้ ผลิต ภัณฑ์ ทำ ความ สะอาด พลาสติก ยัง พ่น ละออง ไอ ที่ เป็น อันตราย หาก สะ สม ใน อากาศ เป็น จำนวน มาก จะ ทำ ให้ เกิด อาการ เจ็บ ป่วย
บรรยากาศ
บรรยากาศ
เป็น
บรรยากาศ
เมโสสเฟียร์อยู่
ชั้น
เครื่องบิน
อากาศ
มนุษย์
ก๊าซ
ท่าน
การประเมินหลังเรียน
ตนเอง = วันนี้เข้าเรียนตรงตอเวลา แต่งกายถูกระเบียบตั้งใจฟังอาจาย์บรรยายมีการทำสิ่งประดิษฐ์ลูกยางจากกระดาษ และในการเขียนแผนกลุ่มอาจารย์ได้ให้นำกลับไปแก้ไขซึ่งอาจารย์ก็ได้แนะนำไว้ในคาบเรียนแล้ว
เพื่อน = ตั้งใจเรียนฟังที่อาจารย์บรรยายให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม
อาจารย์ = บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง ร่วมกันอภิปรายกับนักศึกษาทำให้การสอนของอาจารย์เข้าใจง่ายมากขึ้นและแนะนำการเขียนแผนทุกกลุ่มให้กลับไปแก้ไข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น